หลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล (Digital LiteracyCurriculum)
จัดทำโดย มหาวิทยาลัยมหิดล | ที่ปรึกษากิจกรรมศึกษาวิเคราะห์กรอบแนวทางการพัฒนาทักษะดิจิทัลเบื้องต้น (Digital Literacy) สำหรับประซาซนทุกกลุ่มวัยที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้ดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อลังคม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ข้อมูลทั่วไป
1. ชื่อหลักสูตร
- ภาษาไทย | การเช้าใจดิจิทัล
- ภาษาอังกฤษ | Digital Literacy Curriculum
2. จำนวนชั่วโมงที่เรียนรู้ตลอดหลักสูตร
- เรียนรู้ไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง
3. รูปแบบของหลักสูตร
- ภาษาที่ใซ้ | ภาษาไทย
- กระบวนการในการเรียนรู้ | เรียนรู้ทฤษฎีและกิจกรรมปฏิบัติการ
4. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
- อธิบายทฤษฎีหลักการเช้าถึงและใช้ดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานและการใช้ ชีวิตประจำวันได้
- รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล คิด วิเคราะห์ แยกแยะ สื่อดิจิทัลเพื่อการบริโภคได้อย่าง เหมาะสม
- ประยุกต้ใช้ดิจิทัลเพื่อการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
- เข้าใจความรู้ด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ตามแนวทางการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑
- เรียนรู้การใช้งานดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ทางด้านการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล
- ตระหนักรู้ การใช้ดิจิทัสอย่างสร้างสรรค์
5. กลุ่มผู้เรียนรู้
- ผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ โปรแกรมเมอร์ นักพัฒนาระบบ
- ผู้สร้างเนื้อหา กราฟิกดีไซเนอร์ ผู้สร้างภาพยนต์เคลื่อนไหว
- ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานเฉพาะด้าน วิศวกร นักดนตรี นักสถิติ พยาบาล นักบัญชี เป็นต้น
- ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงาน นักเรียน ช้าราชการ พักงานบริษัท ตำรวจ ทหาร เป็นต้น
- บุคคลทั่วไป แม่บ้าน เกษตรกร พนักงานแรงงาน ผู้พิการ ผู้สูงอายุ
- บุคคลทางด้านศาสนา พระ บาทหลวง เป็นต้น
อ้างอิงเนื้อหาจาก
หลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล (Digital LiteracyCurriculum) พ.ศ. 2559 (จัดทำโดย มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ปรึกษากิจกรรมศึกษาวิเคราะห์กรอบแนวทางการพัฒนาทักษะดิจิทัลเบื้องต้น (Digital Literacy) สำหรับประชาชนทุกกลุ่มวัยที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้ดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อสังคม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม)